ถ้าเรานำชิ้นส่วนที่เกิดความเสียหายไปวิเคราะห์เพื่อหารูปแบบการเสียหาย (Failure Modes) ได้แล้ว สิ่งหนึ่งที่ต้องดำเนินการต่อ คือ ต้องหาสาเหตุรากของปัญหา (Root Cause) ให้ได้ว่าเกิดจากปัจจัยใด ซึ่งบางครั้งเราจะพบว่ามาจากปัจจัยที่เหลือเชื่อก็ได้ เช่น เกิดจากฝ่าย QC แกล้งฝ่าย QA หรือเกิดจากนโยบายด้านบุคคลของที่องค์ที่ไม่ดี หรือเกิดจากการวางแผนซ่อมบำรุงที่ไม่ดีพอ เป็นต้น
สำหรับสาเหตุรากของการเสียหายของวัสดุสามารถสรุปคร่าวๆ ได้ดังรูปด้านล่าง
ขอบคุณภาพประกอบจากหนังสือ "How to Organize and Run a Failure Investigation" ของ ASM International
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
การกัดกร่อนกับท่อทองแดงแบบรังมด (Ant-nest corrosion)
วันนี้มีเคสจากหน่วยงานขนส่งมวลแห่งหนึ่งแจ้งว่าท่อทองแดงในระบบเครื่องปรับอากาศเกิดการกัดกร่อนแล้วนำมาสู่การรั่วมาปรึกษา ผมจำได้ว่าเคยวิเคราะห...
-
วันนี้เราเรียนรู้รูปแบบการเสียหายของวัสดุในรูปแบบถัดมา นั่นก็คือ การล้า หรือ Fatigue จะมีรายละเอียดเป็นอย่างไร เชิญติดตามได้เลยครับ คำว่า &q...
-
cr : https://doi.org/10.1016/j.ijplas.2023.103601 เมื่อชิ้นส่วนโลหะถูกนำมาใช้งานภายใต้สภาวะอุณหภูมิสูงในขณะเดียวกันก็รับความเค้นแรงดึงไปด้ว...
-
วันนี้ขอนำเสนอรูปแบบการเสียหายของวัสดุแบบที่ 2 คือ การเสียหายแบบเหนียว วัสดุเหนียวที่ถูกใช้งานภายใต้สภาวะการรับความเค้นแรงดึง (Tensile Str...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น