เชิญทุกท่านสมัครเข้าร่วมการอบรมทางวิชาการเรื่อง เทคโนโลยีการกัดกร่อน ระดับ 1 (Corrosion Technology Level 1) ซึ่งจัดโดยศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร่วมกับ สมาคมการกัดกร่อนโลหะและวัสดุไทย
วันที่ 24 - 25 กุมภาพันธ์ 2554
สถานที่ ห้อง M120 อาคารเอ็มเทค อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี
หัวข้อการบรรยาย
1. เทคโนโลยีการกัดกร่อนขั้นพื้นฐาน
2. รูปแบบการกัดกร่อน กลไกการกัดกร่อนและวัสดุต้านทานการกัดกร่อน
3. วิธีทดสอบการกัดกร่อน
4. กรณีศึกษาการกัดกร่อนของชิ้นส่วนทางวิศวกรรมในภาคอุตสาหกรรม
5. การป้องกันการกัดกร่อนขั้นพื้นฐาน
กำหนดการ
24 กุมภาพันธ์ 2554
08.30 – 09.00 ลงทะเบียน
09.00 – 10.30 การบรรยาย “เทคโนโลยีการกัดกร่อนขั้นพื้นฐาน”
โดย ดร.เอกรัตน์ ไวยนิตย์
10.30 – 10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45 – 12.00 การบรรยาย “รูปแบบการกัดกร่อน และกลไกการกัดกร่อน”
โดย คุณโฆษิต วงค์ปิ่นแก้ว
12.00 – 13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 14.30 การบรรยาย “เทคนิคการวิเคราะห์พฤติกรรมการกัดกร่อน”
โดย ดร.วนิดา พงศ์ศักดิ์สวัสดิ์
14.30 – 14.45 พักรับประทานอาหารว่าง
14.45 – 16.15 การบรรยาย “การวิเคราะห์ความเสียหายของชิ้นส่วนเนื่องจากการกัดกร่อน”
โดย คุณสยาม แก้วคำไสย์
16.15 – 16.30 ถาม – ตอบ
25 กุมภาพันธ์ 2554
09.00 - 10.30 การบรรยาย "กรณีศึกษา: การกัดกร่อนโดยปัจจัยสิ่งแวดล้อม"
โดย คุณสยาม แก้วคำไสย์
10.30 – 10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45 – 12.00 การบรรยาย “กรณีศึกษา: การกัดกร่อนโดยปัจจัยด้านโลหะวิทยา”
โดย คุณโฆษิต วงค์ปิ่นแก้ว
12.00 – 13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 14.30 การบรรยาย “การเลือกใช้วัสดุสำหรับสิ่งแวดล้อมกัดกร่อน”
โดย ดร.เอกรัตน์ ไวยนิตย์
14.30 – 14.45 พักรับประทานอาหารว่าง
14.45 – 16.15 การบรรยาย “การป้องกันการกัดกร่อนขั้นพื้นฐาน”
โดย ดร.วนิดา พงศ์ศักดิ์สวัสดิ์
16.15 – 16.30 ถาม – ตอบ
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
https://www2.mtec.or.th/eventnstda/Template/index.aspx?EventID=S11004&ContentID=539
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
การกัดกร่อนกับท่อทองแดงแบบรังมด (Ant-nest corrosion)
วันนี้มีเคสจากหน่วยงานขนส่งมวลแห่งหนึ่งแจ้งว่าท่อทองแดงในระบบเครื่องปรับอากาศเกิดการกัดกร่อนแล้วนำมาสู่การรั่วมาปรึกษา ผมจำได้ว่าเคยวิเคราะห...
-
วันนี้เราเรียนรู้รูปแบบการเสียหายของวัสดุในรูปแบบถัดมา นั่นก็คือ การล้า หรือ Fatigue จะมีรายละเอียดเป็นอย่างไร เชิญติดตามได้เลยครับ คำว่า &q...
-
cr : https://doi.org/10.1016/j.ijplas.2023.103601 เมื่อชิ้นส่วนโลหะถูกนำมาใช้งานภายใต้สภาวะอุณหภูมิสูงในขณะเดียวกันก็รับความเค้นแรงดึงไปด้ว...
-
วันนี้ขอนำเสนอรูปแบบการเสียหายของวัสดุแบบที่ 2 คือ การเสียหายแบบเหนียว วัสดุเหนียวที่ถูกใช้งานภายใต้สภาวะการรับความเค้นแรงดึง (Tensile Str...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น