วันพุธที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2554

สัมมนาเทคนิคการทดสอบแบบไม่ทำลายเน้น UT สำหรับการทดสอบการกัดกร่อน

สมาคมการกัดกร่อนโลหะและวัสดุไทย โดยความร่วมมือของศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ บริษัท ไอ เอส อินดัสทรีย์ (ไทยแลนด์)จำกัด และ บริษัท เอ็นดีที อินสตรูเม้นท์ (ประเทศไทย)จำกัด ร่วมจัดสัมมนาในหัวข้อ “การประยุกต์ใช้การตรวจสอบโดยไม่ทำลายด้วยเทคนิคคลื่นอัตราโซนิกขั้นสูงในการตรวจสอบความเสียหายเนื่องจากการกัดกร่อน” เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ ตลอดจนส่งเสริมให้สามารถประยุกต์ใช้การตรวจสอบด้วยคลื่นอัลตราโซนิกในการป้องกันความเสียหายที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากการกัดกร่อน
ตารางการสัมมนามีดังนี้;


วันที่ 13 ต.ค.2554
08.30 - 09.00 ลงทะเบียน
09.00 - 10.30 การประยุกต์ใช้การทดสอบแบบไม่ทำลายในการตรวจสอบความเสียหายเนื่องจากการกัดกร่อน

10.30 -10.45 พักรับประทานอาหารว่าง

10.45 - 12.00 การประยุกต์ใช้การทดสอบแบบไม่ทำลายในการตรวจสอบความเสียหายเนื่องจากการกัดกร่อน (ต่อ)

12.00 - 13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน

13.00 - 14.30 การตรวจสอบความเสียหายด้วยเทคนิค Long Range Ultrasonic Inspection

14.30 - 14.45 พักรับประทานอาหารว่าง

14.45 - 16.00 สาธิตการตรวจสอบด้วยเทคนิค Long Range Ultrasonic Inspection

16.00 – 16.30 ตอบข้อซักถามและแลกเปลี่ยนความเห็น

วันที่ 14 ต.ค.2554

08.30 - 09.00 ลงทะเบียน

09.00 - 10.30 การตรวจสอบความเสียหายด้วยเทคนิค Phase Array Ultrasonic Inspection

10.30 -10.45 พักรับประทานอาหารว่าง

10.45 - 12.00 การตรวจสอบความเสียหายด้วยเทคนิค Time of Flight Diffraction (TOFD)

12.00 - 13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน

13.00 - 14.30 สาธิตการตรวจสอบด้วยเทคนิค Phase Array Ultrasonic Inspection

14.30 - 14.45 พักรับประทานอาหารว่าง

14.45 - 16.00 สาธิตการตรวจสอบด้วยเทคนิค Time of Flight Diffraction (TOFD)

16.00 – 16.30 ตอบข้อซักถามและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

ตามรายละเอียดที่ลิงค์ด้านล่าง
http://www2.mtec.or.th/th/course_seminar/detail/UT.pdf
ในระหว่างวันที่ 13-14 ตุลาคม 2554 ณ ห้องประชุม CO-113
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี


โดยเสียค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียนเพียงแค่ 1400 บาท แต่ท่านจะได้รับสิทธิ์สมัครเป็นสมาชิกสมาคมการกัดกร่อนฯ 3 ปี

สามารถสำรองที่นั่งได้ที่ e-mail: tcma.info@tcma.or.th

การล้างผิวเหล็กกล้าไร้สนิมด้วยกรด (Pickling) และการสร้างฟิล์ม (Passivation)

Image credit: https://www.safefoodfactory.com/en/editorials/54-pickling-and-passivating-stainless-steel/ เหล็กกล้าไร้สนิมสามารถเกิดการกัดกร่...