หลายท่านพอได้อ่านหัวข้อมูลค่าความเสียหายจากการกัดกร่อนแล้ว อาจนึกอยากช่วยประเทศไทยเพื่อลดภาระเหล่านั้น มีอยู่อีกอย่างที่ท่านสามารถช่วยได้คือการเป็น วิศวกรการกัดกร่อน (Corrosion Engineer) แม้จะไม่มีสถาบันใดในประเทศไทยเปิดสอนโดยตรง แต่สาขาวิศวกรรมโลหการของทุกมหาวิทยาลัยก็เปิดสอนเป็นวิชาเลือก หรือที่ทำงานของผมเองก็รับฝึกอบรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักศึกษาที่ต้องการมาฝึกงานและเรียนรู้ด้านการกัดกร่อนก็ยินดีนะครับ...........
พอดีผมไปอ่านในเวปไซต์อันหนึ่งมา เขาได้โพสต์เหตุผลสุดๆ 10 ข้อ ในการเลือกเป็นวิศวกรการกัดกร่อน (http://www.corrosion-club.com/top10corrosion.htm) ดังนี้
1.... finally convincing yourself that something had to be done about the cost of corrosion;
2.... defying thermodynamics was always an intriguing concept;
3.... having seen the corrosion professor at school drive off in a new Porsche 928S (later you discovered that he also had a MBA, and knew a thing or two about investing);
4.... getting that "swanning around in a white lab coat" out of your system;
5.... knowing more than your neighbor (who works in catering and, yes, was always more popular with the ladies) about potentiodynamic polarization curves;
6.... being "paid to worry";
7.... putting your loved ones (and 99.9999% of the general population) into a peaceful slumber with more detailed mechanistic explanations of corrosion phenomena;
8.... rationalizing your old disintegrating car (or house, or boat, or houseboat) as a practical (but not necessary valuable) corrosion experiment;
9.... surrounding yourself in "an air of mystery" with other engineers or scientists, who can not quite "place you"; but somehow always seem to consult you;
10.... being genuinely needed (but not necessarily appreciated) in most industries.
แล้วท่านผู้อ่านล่ะครับ.....อยากเป็นวิศวกรการกัดกร่อนหรือเปล่าครับ
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
การกัดกร่อนกับท่อทองแดงแบบรังมด (Ant-nest corrosion)
วันนี้มีเคสจากหน่วยงานขนส่งมวลแห่งหนึ่งแจ้งว่าท่อทองแดงในระบบเครื่องปรับอากาศเกิดการกัดกร่อนแล้วนำมาสู่การรั่วมาปรึกษา ผมจำได้ว่าเคยวิเคราะห...
-
วันนี้เราเรียนรู้รูปแบบการเสียหายของวัสดุในรูปแบบถัดมา นั่นก็คือ การล้า หรือ Fatigue จะมีรายละเอียดเป็นอย่างไร เชิญติดตามได้เลยครับ คำว่า &q...
-
cr : https://doi.org/10.1016/j.ijplas.2023.103601 เมื่อชิ้นส่วนโลหะถูกนำมาใช้งานภายใต้สภาวะอุณหภูมิสูงในขณะเดียวกันก็รับความเค้นแรงดึงไปด้ว...
-
วันนี้ขอนำเสนอรูปแบบการเสียหายของวัสดุแบบที่ 2 คือ การเสียหายแบบเหนียว วัสดุเหนียวที่ถูกใช้งานภายใต้สภาวะการรับความเค้นแรงดึง (Tensile Str...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น