ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติสัมมนาเรื่อง การกัดกร่อนและการป้องกัน ในวันทื่ 8-9 ก.ย.53 อ่านเพิ่มได้ที่ http://www2.mtec.or.th/eventnstda/Template/index.aspx?EventID=S10083&ContentID=369
สำหรับผมจะบรรยายในหัวข้อ การวิเคราะห์ความเสียหายของชิ้นส่วนที่เกิดการกัดกร่อนและกรณีตัวอย่าง
กรณีตัวอย่างที่ผมจะนำเสนอมีหลายกรณี ยกตัวอย่าง เช่น
1.การแตกร้าวของไอน้ำด้วยกลไก caustic SCC
2.การเสียหายของชิ้นส่วน hook ด้วยกลไก hydrogen induced cracking (HIC)
3.การเสียหายของระบบท่อห้มฉนวนด้วยกลไก CUI และ SCC
4.การแตกหักของเพลาด้วยกลไก SCC
5.การเสียหายของลวดตะแกรงด้วยกลไก corrosion fatigue cracking (CFC)
6.การเสียหายของท่อลำเลียงไอน้ำด้วยกลไก Flow Accerlerated Corrosion (FAC)
7.การเสียหายของท่อลำเลียงสารเคมีด้วยกลไก intergranular corrosion
8.การเสียหายของท่อลำเลียงก๊าซธรรมชาติด้วยกลไก carburization
9.การเสียหายของท่อเหล็กกล้าไร้สนิมด้วยกลไก microbiologically induced corrosion (MIC)
10.การเสียหายของชิ้นส่วนยึดผนังห้องเย็นด้วยกลไก galvanic corrosion
11.การเสียหายของท่อทองเหลืองด้วยกลไก dezicification
12.การเสียหายของท่อทองแดงด้วยกบไก Ant-nest Corrosion
13.การเสียหายของกระป๋องบรรจุอาหารด้วยกลไก filiform corrosion
14.การเสียหายของท่อลำเลียงน้ำเสียด้วยกลไก grooving corrosion
ซึ่งในแต่ละ case จะกล่าวถึงข้อมูลเบื้องต้น ขั้นตอนและเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ ผลการวิเคราะห์ วิเคราะห์ผล สรุปผล และ ข้อเสนอแนะ
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
การกัดกร่อนกับท่อทองแดงแบบรังมด (Ant-nest corrosion)
วันนี้มีเคสจากหน่วยงานขนส่งมวลแห่งหนึ่งแจ้งว่าท่อทองแดงในระบบเครื่องปรับอากาศเกิดการกัดกร่อนแล้วนำมาสู่การรั่วมาปรึกษา ผมจำได้ว่าเคยวิเคราะห...
-
วันนี้เราเรียนรู้รูปแบบการเสียหายของวัสดุในรูปแบบถัดมา นั่นก็คือ การล้า หรือ Fatigue จะมีรายละเอียดเป็นอย่างไร เชิญติดตามได้เลยครับ คำว่า &q...
-
cr : https://doi.org/10.1016/j.ijplas.2023.103601 เมื่อชิ้นส่วนโลหะถูกนำมาใช้งานภายใต้สภาวะอุณหภูมิสูงในขณะเดียวกันก็รับความเค้นแรงดึงไปด้ว...
-
วันนี้ขอนำเสนอรูปแบบการเสียหายของวัสดุแบบที่ 2 คือ การเสียหายแบบเหนียว วัสดุเหนียวที่ถูกใช้งานภายใต้สภาวะการรับความเค้นแรงดึง (Tensile Str...
ปีหน้าคาดว่าจะจัดในช่วงเดือนมิถุนายนครับ
ตอบลบ