วันพุธที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2553

สัมมนาเรื่องการกัดกร่อนและการป้องกัน

ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติสัมมนาเรื่อง การกัดกร่อนและการป้องกัน ในวันทื่ 8-9 ก.ย.53 อ่านเพิ่มได้ที่ http://www2.mtec.or.th/eventnstda/Template/index.aspx?EventID=S10083&ContentID=369

สำหรับผมจะบรรยายในหัวข้อ การวิเคราะห์ความเสียหายของชิ้นส่วนที่เกิดการกัดกร่อนและกรณีตัวอย่าง

กรณีตัวอย่างที่ผมจะนำเสนอมีหลายกรณี ยกตัวอย่าง เช่น
1.การแตกร้าวของไอน้ำด้วยกลไก caustic SCC
2.การเสียหายของชิ้นส่วน hook ด้วยกลไก hydrogen induced cracking (HIC)
3.การเสียหายของระบบท่อห้มฉนวนด้วยกลไก CUI และ SCC
4.การแตกหักของเพลาด้วยกลไก SCC
5.การเสียหายของลวดตะแกรงด้วยกลไก corrosion fatigue cracking (CFC)
6.การเสียหายของท่อลำเลียงไอน้ำด้วยกลไก Flow Accerlerated Corrosion (FAC)
7.การเสียหายของท่อลำเลียงสารเคมีด้วยกลไก intergranular corrosion
8.การเสียหายของท่อลำเลียงก๊าซธรรมชาติด้วยกลไก carburization
9.การเสียหายของท่อเหล็กกล้าไร้สนิมด้วยกลไก microbiologically induced corrosion (MIC)
10.การเสียหายของชิ้นส่วนยึดผนังห้องเย็นด้วยกลไก galvanic corrosion
11.การเสียหายของท่อทองเหลืองด้วยกลไก dezicification
12.การเสียหายของท่อทองแดงด้วยกบไก Ant-nest Corrosion
13.การเสียหายของกระป๋องบรรจุอาหารด้วยกลไก filiform corrosion
14.การเสียหายของท่อลำเลียงน้ำเสียด้วยกลไก grooving corrosion

ซึ่งในแต่ละ case จะกล่าวถึงข้อมูลเบื้องต้น ขั้นตอนและเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ ผลการวิเคราะห์ วิเคราะห์ผล สรุปผล และ ข้อเสนอแนะ

1 ความคิดเห็น:

การล้างผิวเหล็กกล้าไร้สนิมด้วยกรด (Pickling) และการสร้างฟิล์ม (Passivation)

Image credit: https://www.safefoodfactory.com/en/editorials/54-pickling-and-passivating-stainless-steel/ เหล็กกล้าไร้สนิมสามารถเกิดการกัดกร่...