วันอังคารที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2555

ศาสตร์ของการวิเคราะห์ผิวหน้าแตกหัก (Fractography)


เมื่อวัสดุได้รับความเสียหายที่เกี่ยวเนื่องจากการแตกหัก เมื่อนำผิวหน้าที่แตกหักมาวิเคราะห์พบว่ารายละเอียดบนผิวหน้าดังกล่าวสามารถที่จะบ่งบอกถึงตำแหน่งของจุดเริ่มต้นการแตกหัก ทิศทางการขยายตัวของรอยแตก กลไกการเกิดความเสียหาย จุดบกพร่องภายในวัสดุ ร่องรอยการทำปฏิกิริยากับสิ่งแวดล้อมและบริเวณที่ได้รับผลกระทบจากความเค้นในปริมาณที่ต่างกัน ชนิดของแรงที่กระทำ อื่นๆ อีกมากมาย


ถ้าใครสนใจอยากเรียนรู้เจอกันได้ที่ งานสัมนาเชิงปฏิบัติการที่พัทยานะครับ..ผมเป็นคนบรรยาเองครับ

Outline:
· History of Fractography
· What is Fractography?
· How do we perform fractography?
· Macroscopically Visible Fractographic Features

§ Ductile & brittle
§ Chevron mark
§ Radial mark
§ Ratchet mark
· Microscopically Visible Fractographic Features
§ Ductile
· Dimple
o Equi-axed dimple
o Shear dimple
§ Brittle
· Cleavage facets
· Intergranular facets
· Striations
· Fatigue Fracture
§ Macroscopic feature
§ Microscopic features
§ Torsional
§ Bending
· Other Fracture Modes
§ Hydrogen embrittlement
§ Quench fracture
§ Stress corrosion cracking
§ Corrosion fatigue cracking

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

การกัดกร่อนกับท่อทองแดงแบบรังมด (Ant-nest corrosion)

วันนี้มีเคสจากหน่วยงานขนส่งมวลแห่งหนึ่งแจ้งว่าท่อทองแดงในระบบเครื่องปรับอากาศเกิดการกัดกร่อนแล้วนำมาสู่การรั่วมาปรึกษา ผมจำได้ว่าเคยวิเคราะห...