Aloha Airlines Flight 243 บินจาก Hilo ไป Honolulu เมื่อวันที่ 28 เมษายน 1988 มีผู้โดยสาร 89 คน มีพนักงานต้อนรับ 3 คน เครื่องบินเป็นแบบ B737-200 ขณะนั้นผู้โดยสารยังรัดเข็มขัดอยู่ มีพนักงานต้อนรับถูกดูดออกไปคนหนึ่งและเสียชีวิต Flight นี้ มีผู้เสียชีวิตคนเดียว บาดเจ็บสาหัส 8 คนเป็นพนักงานต้อนรับ1 คน บาดเจ็บไม่สาหัส 57 คน และไม่ได้รับบาดเจ็บเลย 3 คน ได้เกิดความเสียหาย ซี่งส่วนใหญ่เป็นชิ้นส่วนด้านบนของลำตัวเครื่องบิน ขณะที่มันบินอยู่ที่ความสูง 24000 ft เนื่องจากแผงลำตัวของเครื่องบินที่เชื่อมต่อกันตามรอยพับด้วยตัวหมุดย้ำ (rivet) ซึ่งมีความเค้นตกค้างจากการประกอบและความเค้นจากการปรับความดันภายในเครื่องได้เกิดการกัดกร่อน ซึ่งทำให้เกิดการแตกร้าวและไม่ยึดเกาะกัน เนื่องจากเกินอายุการใช้งานของเครื่องบิน (ในกรณีนี้อายุใช้งาน 19 ปี) ผลการตรวจสอบพบว่าเป็นการเสียหายด้วยกลไกการล้าร่วมกับการกัดกร่อน (Corrosion Fatigue Cracking)
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
การกัดกร่อนกับท่อทองแดงแบบรังมด (Ant-nest corrosion)
วันนี้มีเคสจากหน่วยงานขนส่งมวลแห่งหนึ่งแจ้งว่าท่อทองแดงในระบบเครื่องปรับอากาศเกิดการกัดกร่อนแล้วนำมาสู่การรั่วมาปรึกษา ผมจำได้ว่าเคยวิเคราะห...
-
วันนี้เราเรียนรู้รูปแบบการเสียหายของวัสดุในรูปแบบถัดมา นั่นก็คือ การล้า หรือ Fatigue จะมีรายละเอียดเป็นอย่างไร เชิญติดตามได้เลยครับ คำว่า &q...
-
cr : https://doi.org/10.1016/j.ijplas.2023.103601 เมื่อชิ้นส่วนโลหะถูกนำมาใช้งานภายใต้สภาวะอุณหภูมิสูงในขณะเดียวกันก็รับความเค้นแรงดึงไปด้ว...
-
วันนี้ขอนำเสนอรูปแบบการเสียหายของวัสดุแบบที่ 2 คือ การเสียหายแบบเหนียว วัสดุเหนียวที่ถูกใช้งานภายใต้สภาวะการรับความเค้นแรงดึง (Tensile Str...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น