ผมเชื่อเหลือเกินว่าหลายท่านที่อ่านบทความผมเคยทำพฤติกรรมนี้ กล่าวคือ เมื่อพบการแตกหักของชิ้นส่วนทางวิศวกรรม เช่น เพลาแตกหัก สกรูขาด ก็มักจะเอาผิวหน้าที่แตกหักออกจากกันเป็น 2 ชิ้นนั้นมาประกบกัน ท่านรู้หรือไม่ว่าเป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำเป็นอย่างยิ่งสำหรับนักวัสดุและวิเคราะห์ความเสียหาย เพราะว่าอะไรครับ?
ก็เพราะว่ามันอาจทำลายลักษณะที่ปรากฏในระดับจุลภาคที่มักจะบอกถึงกลไกการแตกหัก (Fracture Mechanism) ได้นั่นเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งผิวหน้าบริเวณจุดเริ่มรอยแตกหักครับ
ดังนั้น ในกรณีที่ต้องการวิเคราะห์ผิวหน้าแตกหัก ต่อไปอย่าทำนะครับ...
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
การกัดกร่อนกับท่อทองแดงแบบรังมด (Ant-nest corrosion)
วันนี้มีเคสจากหน่วยงานขนส่งมวลแห่งหนึ่งแจ้งว่าท่อทองแดงในระบบเครื่องปรับอากาศเกิดการกัดกร่อนแล้วนำมาสู่การรั่วมาปรึกษา ผมจำได้ว่าเคยวิเคราะห...
-
วันนี้เราเรียนรู้รูปแบบการเสียหายของวัสดุในรูปแบบถัดมา นั่นก็คือ การล้า หรือ Fatigue จะมีรายละเอียดเป็นอย่างไร เชิญติดตามได้เลยครับ คำว่า &q...
-
cr : https://doi.org/10.1016/j.ijplas.2023.103601 เมื่อชิ้นส่วนโลหะถูกนำมาใช้งานภายใต้สภาวะอุณหภูมิสูงในขณะเดียวกันก็รับความเค้นแรงดึงไปด้ว...
-
วันนี้ขอนำเสนอรูปแบบการเสียหายของวัสดุแบบที่ 2 คือ การเสียหายแบบเหนียว วัสดุเหนียวที่ถูกใช้งานภายใต้สภาวะการรับความเค้นแรงดึง (Tensile Str...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น