จรรยาบรรณนักวิเคราะห์ความเสียหายข้อที่ 6
"วิศวกรต้องรับผิดชอบต่องานและผลงานในวิชาชีพของตน"
จรรยาบรรณข้อนี้นั้น เราต้องคำนึงอยู่เสมอว่างานทุกอย่างที่ทำไปนั้น ตนต้องรับผิดชอบตลอดเวลาตามข้อตกลง แม้กระทั่งงานที่ตนรับผิดชอบนั้น อาจได้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติ และสิ่งที่คาดไม่ถึง เราจะต้องติดตามผลงานที่เกิดจากการวิเคราะห์ ทดสอบของตน ที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้ว่าจ้าง หรือสาธารณชน ถ้าเห็นว่าเกิดปัญหา จะต้องดำเนินการแก้ไขอย่างเร่งด่วน ไม่ต้องรอให้เจ้าของงานทักท้วงก่อน
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
การกัดกร่อนกับท่อทองแดงแบบรังมด (Ant-nest corrosion)
วันนี้มีเคสจากหน่วยงานขนส่งมวลแห่งหนึ่งแจ้งว่าท่อทองแดงในระบบเครื่องปรับอากาศเกิดการกัดกร่อนแล้วนำมาสู่การรั่วมาปรึกษา ผมจำได้ว่าเคยวิเคราะห...
-
วันนี้เราเรียนรู้รูปแบบการเสียหายของวัสดุในรูปแบบถัดมา นั่นก็คือ การล้า หรือ Fatigue จะมีรายละเอียดเป็นอย่างไร เชิญติดตามได้เลยครับ คำว่า ...
-
cr : https://doi.org/10.1016/j.ijplas.2023.103601 เมื่อชิ้นส่วนโลหะถูกนำมาใช้งานภายใต้สภาวะอุณหภูมิสูงในขณะเดียวกันก็รับความเค้นแรงดึงไปด้ว...
-
วันนี้ขอนำเสนอรูปแบบการเสียหายของวัสดุแบบที่ 2 คือ การเสียหายแบบเหนียว วัสดุเหนียวที่ถูกใช้งานภายใต้สภาวะการรับความเค้นแรงดึง (Tensile Str...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น